หนึ่งปีที่ผ่านไป แม้คนไทยจะไม่ลืมโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้น แต่ผู้ที่ต้องรับผิดชอบกับความเสียหาย และ “คำสัญญา” ที่จะปรับปรุงตัว กลับลืมไปแล้วสิ้น… และความ “ลืมง่าย” และ “ไม่รับรู้บทเรียน” เหล่านี้คือสิ่งที่ทำให้สังคมไทยยังวนลูปอยู่กับหลาย ๆ วัฒนธรรม หลาย ๆ การกระทำที่...
การเมือง
ซีรีส์เชิงสารคดีเรื่อง Crime Scene : The Vanishing at the Cecil Hotel ที่สตรีมทาง Netflix ตอนนี้ เป็นสารคดีระทึกขวัญเกี่ยวกับคดีการตายของ Elisa Lam เมื่อปี...
ใครหลายคนคงเคยได้ยินเรื่อเรื่อง “ภาวะหมดไฟ” หรือ “Burnout Syndrome” ในแง่ของอาการเหนื่อยล้า เหนื่อยหน่ายในเรื่องการงาน อันมีสาเหตมาจากความเครียดจากงานอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดพัก การต้องทำงานที่มีความกดดันระยะยาว ยืดเยื้อ มองไม่เห็นฝั่ง หรือการทำงานโดยไม่ได้รับสิ่งตอนแทนที่เหมาะสม ไม่ว่าจะในเรื่องเงิน หรือ “คุณค่า” ที่ได้จากงาน ฯลฯ
หลายคนคงเคยสงสัย ฉงนใจปนเวทนาอยู่นิดๆ ว่าทำไม? มนุษย์ “สลิ่ม” ที่เราพบเจอกันอยู่ทุกวันนี้ หากไม่ใช่เหล่าชนชั้นสูงที่ได้รับประโยชน์จากการพึ่งพาอภิสิทธิ์ของเหล่าขั้วอำนาจต่างๆ อยู่แล้ว แต่เป็นชนชั้นกลางไปจนถึงล่างที่อยู่ไกลจากผลประโยชน์เหล่านั้น ถึงได้ยึดมั่นในจุดยืนที่จะปฏิเสธ “ความเท่าเทียม” อย่างสุดจิตสุดใจ ทั้งยังสนับสนุน “อำนาจนิยม” และถือข้างผู้มีอำนาจในทุกสถาบัน ไม่ว่าจะอวยนายก ยกชูสถาบันกษัตริย์ขึ้นเหนือหัวพร้อมปฏิญาณกู่ก้องว่าจะปกป้องยิ่งชีพ
สังคมที่เท่าเทียม ไม่ใช่การปล่อยให้คนพิการเข็นวีลแชร์บนถนนแย่ๆ “เท่าเทียม” กับคนอื่นแต่คือการอุดช่องว่างแห่ง “ข้อจำกัด” ให้พวกเขาเคลื่อนที่แบบใดก็ได้โดยที่ปลอดภัย “เท่าเทียม” กับคนอื่น